วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2562

ปรมจารย์ ด้านทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรคองค์ 8



ทุกข์ ควรกำหนดรู้

สมุทัย ควรละ

นิโรธ ทำให้แจ้ง (นิพาน )

มัคค 8      ควรเจริญให้มากๆ





ป็นการครอบคุม  สุขุม ลึกซึ้ง  

ทุกข์ ท่านว่า ปรมัตถ ธรรมทั้งหมด ยกเว้น โลภะจิต 8  


สมุทัย  ท่านว่า โลภะจิต 8  เป็นเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง เพราะสร้างเหุตนี้ รูปและนาม วิปากจึงเกิดมิหยุด ภพแล้วภพเล่า  ความปราถนา , ความยินดี  , ความเพลิดเพลิน    


นิโรธ
ความดับสนิท ดัง กองไปใหญ่ ดับไม่เหลือ  ด้วยเหตุปัจจัยที่จะทำให้เปลวไฟไม่มี นิพาน จึง เป็น ดังไฟที่หายไปไม่มีเหลือ นั้นเอง

มัคค 8 ความเจริญให้มาก  
 







พอทราบแล้วว่าจะไปทางไหน 



โลภะมูลจิต 8  หรือ สมุทัย





เริ่มเดิมที  แต่แยกรูปและนาม ออกจาก กัน    --->   จากนั้นมาเหตุปัจจัยให้เกิดรูป-นาม


การพิจารณา เชื่องช้า  เพราะ เราไปติดในอารมณ์  ห่วงความนึกคิด  ส่วนใหญ่เป็นอดีต สมุติร  และโลภะ8  อันเป็นความอยาก ที่เราปราถนา 


จากรูปข้างล่าง 2.อารัมณปัจจัย   จิต 89 + เจตสิก 52  + รูป 28  + นิพาน  + บัญญติ....--> จิต89+เจตสิก52(นาม หรือ ความคิด)

    จิต 89 + เจตสิก 52     จิตเกิด ทีละ 1  + เจสิก(7+)

    รูป  28  เห็นรูปนี้สวย เราชอบ   บางทีก็เห็นรูปของศัตรู เราเกลียด

    นิพาน เราปราถนา ทำบุญงานการกุศล เพื่อให้ได้ ถือเป็นอารมณ์ด้วย

     บัญญัติ  โลกสมุตร เรียกกัน  เราก็ติด บัญญัติเป็นส่วนใหญ่ ในชีวิต


>>> คู่มือปัฎฐาน ศึกษาละเอียดได้ที่นี้ <<<          >>> ศึกษาทาง Youtube ที่นี้ <<<

https://drive.google.com/file/d/1GPkcsvOzVc90150AXtSiKf7gPLOA4ULX/view
https://www.youtube.com/watch?v=rIN9cF4DdVY&list=PLbNApPrel7E7rdqyYM81M8UHAqhZtzs3i





จิต ต้องมีอารมณ์   +  เจตสิก จะ คอยช่วยอุ้มชูอารมณ์ในให้ ครบตามวิถี ของจิต

แต่   ปัจจปริคหญาณที่2  นับ การเกิด เห็นอารมณ์(ความคิด) เกิดขึ้นทางใจ -- เห็นอริยาบท ท่าทาง เปลี่ยน เกิดเป็นท่าใหม่




จิตตานุปัสสนา
  อารมณ์ทั้ง16 แบบ ฝึกพิจารณา ว่า ความคิดแบบนี้เกิด ก็รู้ว่า เกิด แล้ว ก็เปลี่ยนไป  ตามดูไป   แล้วก็หายไป 

ทุกข์
    อารมณ์ก็เป็นทุกข์ แบบหนึ่ง      

แต่อารมณ์ ที่เป็น โลภะ 8  เป็นสมุทัย    ตามดูไป    กำหนดรู้ได้  ก็ถึงจะหาวิธีละ ต่อไป
 (ความอยาก , ชอบใจยินดี ,ปราถนา , อยากได้ )


ตามดูให้เห็น        ตามดูจนชำนาญ        ตามดูความอยากทั่วๆ     ตามดูจนเห็นอารมณ์ใหม่เกิดขึ้น







วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2562

ปรมจารย์ ผู้มองหาปัญญา ในโลก

การเจริญสมณะ ธรรม ผู้ ข่วนขวายในบุญเห็นภัยในโลก การเกิดบ่อยๆ ได้สดับพระธรรม  พระสูตร  

มีคำกล่าว บ่อยๆ  ว่า 

ปัญญา แทงตลอดอริยสัจจ ทั้ง 4



>>>> คู่มือการสมถะ และ ฝึกอภิญญา <<<<  
ล่มนี้เป็น อภิธรรมแบบย่อ อาจจะไม่ สามารถแยก อริยสัจจ 4 ออกได้


ทั้ง 9 เล่มนี้ ทำให้เราเข้าใจพื้นฐาน ดีขึ้น

แต่ก็หา ปัญญาไม่เจออยู่ดี


ศึกษา  จำแนกแจก จิตและ เจตสิก 



ปัญญาเจตสิก(ปัญญินทรีย์ 1)   ประกอบ กับจิต กุศล(กามาวจรโสภณจิต 24)

มนสิการโนกุสล   ทำทาน  งานกุศล  ใสบาตร  ฟังธรรม ศีกษาธรรม ปฎิบัติรักษาศีล  

ถือศีล  วิรตี 3  องค์มรรค์8 

>>> เจริญสติปัฎฐานทั้ง 4   กาย  เวทน  จิต  ธรรม  <<<   วิปัสสนาให้ปัญญา เข้าใจสภาวะปัจจุบัน จริงๆๆ

ปัญญาก็จะเกิดร่วมด้วย แบบเข้าใจง่าย

                      >>>  ถ้าแบบเข้าใจยาก  ก็เชิญตรงนี้   <<<





วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2562

การฝึกสมถะ กัมมัฎฐาน

ความสงบ  สุข ตั้งมั้น

กดข่มนิวรณ์ ทั้ง 5


>>>> คู่มือการสมถะ และ ฝึกอภิญญา <<<<  
ล่มนี้เป็น อภิธรรมแบบย่อ อาจจะไม่ สามารถแยก อริยสัจจ 4 ออกได้




๔. เอกญฺจ ววตฺถานมฺปิ อรูปา จตุโร อิติ 
สตฺตธา สมถกมฺมฏฺ ฐานสฺส ตาว สงฺคโห ฯ

แม้การเพ่งธาตุ ๑อรูป ๔ นั้น (ก็นับ)ด้วย รวมสมถกัมมัฏฐานเป็น ๗ หมวด (จำนวน ๔๐) ดังกล่าวมาฉะนี้
มีความหมายว่า ในการเจริญสมถภาวนานั้น มีอารมณ์สำหรับเพ่ง ที่เรียกว่า สมถกัมมัฏฐาน รวม ๗ หมวด เป็นกัมมัฏฐาน ๔๐ คือ
หมวดที่ ๑ กสิณ ๑๐ กัมมัฏฐานว่าด้วย ทั้งปวง
หมวดที่ ๒ อสุภะ ๑๐ กัมมัฏฐานว่าด้วย ไม่งาม
หมวดที่ ๓ อนุสสติ ๑๐ กัมมัฏฐานว่าด้วย ตามระลึก
หมวดที่ ๔ อัปปมัญญา ๔ กัมมัฏฐานว่าด้วย แผ่ไปไม่มีประมาณ
หมวดที่ ๕ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ กัมมัฏฐานว่าด้วย หมายรู้ความปฏิกูลในอาหาร
หมวดที่ ๖ จตุธาตุววัตถานะ ๑ กัมมัฏฐานว่าด้วย กำหนดธาตุทั้ง ๔

หมวดที่ ๗ อรูป ๔ กัมมัฏฐานว่าด้วย อรูปกัมมัฏฐาน




๔. เอกญฺจ ววตฺถานมฺปิ อรูปา จตุโร อิติ 
สตฺตธา สมถกมฺมฏฺ ฐานสฺส ตาว สงฺคโห ฯ

แม้การเพ่งธาตุ ๑อรูป ๔ นั้น (ก็นับ)ด้วย รวมสมถกัมมัฏฐานเป็น ๗ หมวด (จำนวน ๔๐) ดังกล่าวมาฉะนี้
มีความหมายว่า ในการเจริญสมถภาวนานั้น มีอารมณ์สำหรับเพ่ง ที่เรียกว่า สมถกัมมัฏฐาน รวม ๗ หมวด เป็นกัมมัฏฐาน ๔๐ คือ
หมวดที่ ๑ กสิณ ๑๐ กัมมัฏฐานว่าด้วย ทั้งปวง
หมวดที่ ๒ อสุภะ ๑๐ กัมมัฏฐานว่าด้วย ไม่งาม
หมวดที่ ๓ อนุสสติ ๑๐ กัมมัฏฐานว่าด้วย ตามระลึก
หมวดที่ ๔ อัปปมัญญา ๔ กัมมัฏฐานว่าด้วย แผ่ไปไม่มีประมาณ
หมวดที่ ๕ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ กัมมัฏฐานว่าด้วย หมายรู้ความปฏิกูลในอาหาร
หมวดที่ ๖ จตุธาตุววัตถานะ ๑ กัมมัฏฐานว่าด้วย กำหนดธาตุทั้ง ๔
หมวดที่ ๗ อรูป ๔ กัมมัฏฐานว่าด้วย อรูปกัมมัฏฐาน


หน้า ๒๕

ภาวนา และ นิมิต

๖. ปริกมฺม ภาวนา จ อุปจารปฺปนา ตถา 
ปริกมฺม อุคฺคหญฺจ นิมิตฺตํ ปฏิภาคิยํ ฯ

๗. ภาวนญฺจ นิมิตฺตญฺจ ติธา ติธา วิภาวเย 
ตาฬีส กมฺมฏฺฐาเนสุ นโยยํ ปริทีปิโต ฯ

บริกรรมภาวนา อุปจารภาวนา อัปปนาภาวนา บริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต ปฏิภาคนิมิต
พระโยคาวจรพึงยังภาวนาและนิมิตให้เกิด โดยประเภทอย่างละ ๓ อย่างละ ๓ นี้ ท่านแสดงไว้ในกัมมัฏฐาน ๔๐ มีความหมายดังจะกล่าวต่อไปนี้

๑. บริกรรมนิมิต คำว่า บริกรรมแปลว่า การบำเพ็ญ ท่องบ่น หรือ กำหนดใจ นิมิต แปลว่า เครื่องหมาย บริกรรมนิมิตจึงรวมแปลว่า เครื่องหมายที่กำหนด เครื่องหมายที่เพ่ง ในที่นี้ก็ได้แก่ กัมมัฏฐาน ๔๐ มี กสิณ เป็นต้นนั่นเอง
หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เพ่งกัมมัฏฐานใด กัมมัฏฐานนั้นแหละเป็นบริกรรมนิมิต เช่น เพ่งปฐวีกสิณ ก็ปฐวีกสิณที่เพ่งนั้นแหละ คือ บริกรรมนิมิต
๒. อุคคหนิมิต แปลว่า นิมิตติดตา หมายความว่า เมื่อเพ่งปฐวีกสิณจนดวงกสิณนั้นติดตา ไม่ว่าจะลืมตาอยู่หรือแม้จะหลับตา ก็เห็นดวงกสิณนั้นแจ่มแจ้งชัดเจนทุกกระเบียดนิ้ว จนกระทั่งว่าถ้ามีอะไรติดอยู่หรือมีรอยขีดอยู่ที่ดวงกสิณนั้นสักนิดเดียว ก็เห็นได้แจ่มชัด เหมือนหนึ่งว่า ลืมตามองเห็นอยู่ฉะนั้น
๓. ปฏิภาคนิมิต มีความหมายว่า นิมิตคือ ดวงปฐวีกสิณนั้นติดตาอยู่เหมือน กัน แต่ว่าสีแห่งกสิณตลอดจนริ้วรอยหรือตำหนิอย่างใด ๆ ที่ดวงกสิณนั้นจะไม่ปรากฏเลย คงปรากฏว่าดวงกสิณนั้นใส สะอาด บริสุทธิ์ ดุจดวงแก้วมณี ตลอดจนจะขยายปฏิภาคนิมิตนั้นให้ใหญ่ขึ้นหรือย่อให้เล็กลง ก็ได้ตามความปรารถนา

หน้า ๒๖
๔. นิมิตทั้ง ๓ ที่กล่าวมาข้างต้น กล่าวโดยอาศัยกัมมัฏฐานที่มีรูปพรรณสัณฐาน สีสรร วัณณะนั้นเป็นหลัก เช่น กสิณ และอสุภะ เป็นต้น อันจะต้องเริ่มต้นเพ่งด้วยนัยน์ตา ที่เรียกว่า บริกรรมนิมิต จึงจะเห็นติดตาที่เรียกว่า อุคคหนิมิต ส่วนกัมมัฏฐานที่ไม่มีรูปร่าง เช่น อนุสสติ เป็นต้น ไม่ได้เริ่มต้นเพ่งด้วยนัยน์ตา แต่เพ่งด้วยใจ คือ กำหนดใจให้ระลึกนึกถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นต้น คุณของพระพุทธเป็นต้นที่เพ่งด้วยใจนี้ ก็เรียกว่า บริกรรมนิมิต ครั้นจิตใจซาบซึ้งถึงพระคุณนั้นอย่างชัดเจนแน่แน่วจนกระชับจับใจเช่นนี้ ก็เรียกว่าอุคคหนิมิต เหมือนกัน แต่เป็นอุคคหนิมิตติดใจ ไม่ใช่อุคคหนิมิตติดตาเหมือนอย่างก่อน

๕. สมถกัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ เป็นบริกรรมนิมิต และอุคคหนิมิตทั้ง ๔๐
ส่วนปฏิภาคนิมิตนั้น มีได้ในกัมมัฏฐาน ๒๒ เท่านั้นคือ กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ กายคตาสติ ๑ อานาปาณสติ ๑ แม้แต่ อัปปมัญญา ๔ และอรูปกัมมัฏฐาน ๔ ที่ถึง อัปปนาภาวนา (คือถึงฌาน) ก็ไม่ถึง ปฏิภาคนิมิต เป็นได้เพียง อุคคหนิมิต เท่านั้น

๖. บริกรรมภาวนา คำว่า ภาวนา แปลว่า อบรมให้มีขึ้น อบรมให้เกิดขึ้น และให้เจริญยิ่งขึ้นด้วย ดังนั้น บริกรรมภาวนา จึงรวมแปลว่า อบรมให้มีการกำหนดใจขึ้น อบรมให้เกิดการท่องบ่นในใจขึ้น การบำเพ็ญให้มีขึ้น
กัมมัฏฐานที่กำลังเพ่งอยู่นั้นเรียกว่า บริกรรมนิมิต ภาวนาจิตที่มีบริกรรมนิมิตเป็นอารมณ์นั่นแหละ ได้ชื่อว่า บริกรรมภาวนา และเมื่อกล่าวโดยอำนาจแห่งสมาธิ ก็ได้ชื่อว่า บริกรรมสมาธิ
นิมิตที่ถึงกับติดตาติดใจนั้น เรียกว่า อุคคหนิมิต แต่ภาวนาจิตที่มีอุคคหนิมิตเป็นอารมณ์ ก็ยังคงเรียกว่า บริกรรมภาวนา (บริกรรมสมาธิ) อยู่อย่างเดิม

๗. อุปจารภาวนา คำว่า อุปจาระ แปลว่า ใกล้ บริเวณรอบ ๆ ดังนั้น อุปจารภาวนา จึงรวมแปลว่า อบรมใกล้เข้าไปแล้ว หมายความว่าใกล้จะได้ฌานแล้ว ใกล้จะถึงอัปปนาภาวนาแล้ว
การเพ่งกัมมัฏฐานจนถึงปฏิภาคนิมิตเมื่อใด เมื่อนั้นแหละได้ชื่อว่า อุปจารภาวนา และเมื่อกล่าวโดยอำนาจแห่งสมาธิ ก็มีชื่อว่า อุปจารสมาธิ

หน้า ๒๗
๘. อัปปนาภาวนา คำว่า อัปปนา แปลว่า แนบแน่น หมายความว่า แนบอยู่กับอารมณ์นั้นจนแน่นแฟ้น ไม่โยกคลอน หรือแส่ไปในอารมณ์อื่น อีกนัยหนึ่งแปลว่า ทำลายกิเลสมีนิวรณ์ เป็นต้น ดังนั้น อัปปนาภาวนา จึงรวมมีความหมายว่า อบรมจนแนบแน่นในอารมณ์ที่เพ่ง กิเลสไม่สามารถมารบกวนได้
ต่อจากนี้ อุปจารภาวนา เกิดขึ้นแล้ว ก็เพ่งปฏิภาคนิมิตนั้นโดย อุปจารสมาธิให้เป็นไปอย่างสมบูรณ์ พยายามรักษาจนปฏิภาคนิมิตนั้นแนบแน่น ไม่ให้หายไปได้แล้ว ฌานจิตก็ย่อมจะเกิดขึ้น ตรงนี้แหละที่ได้ชื่อว่า อัปปนาภาวนา เมื่อกล่าวโดยอำนาจแห่งสมาธิ ก็มีชื่อว่า อัปปนาสมาธิ
๙. กัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ เป็นอารมณ์ของบริกรรมภาวนา ได้ทั้งหมด
ในกัมมัฏฐาน ๑๐ ได้แก่ อนุสสติ ๘ (เว้นกายคตาสติ ๑ อานาปาณสติ ๑) อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ และจตุธาตุววัตถานะ ๑ ย่อมได้เพียงอุปจารภาวนาเท่านั้น อัปปนาภาวนา คือ ฌาน ไม่เกิด

ส่วนกัมมัฏฐานที่เหลืออีก ๓๐ อันได้แก่ กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ กายคตาสติ ๑ อานาปาณสติ ๑ อัปปมัญญา ๔ และอรูป ๔ ย่อมสำเร็จได้ถึงอัปปนาภาวนา คือ ฌาน




>>>> คู่มือการสมถะ และ ฝึกอภิญญา <<<<  

หน้า ที่ 4  วิธีฝึก ปฐวีกสิณ

หน้าที่ 7   ป้าช้า 9 ของ กายานุปัสสนาสติปัฎฐาน

หน้า 14    จตุธาตุววัตถาน  ธาตุ4 กายานุปัสสนาสติปัฎฐาน

หน้า 15   จริต  ของผู้ฝึกกรรมฐาน


หน้า 25    ภาวนา และ นิมิต
                     บริกรรม     อุปจาระ     อัปปนา


หน้า  27      ปลิโพธ   ความกังวล

หน้า 32     การเจริญกสิณ

หน้า 34    วสีภาวะ   ความชำนาญ   เตรียมพร้อมสำหรับ อภิญญา

หน้า 60   อภิญญา


หน้า 71    วิชา  ญาณ อภิญญา  จบ


หน้า 134   สรุป  เรื่อง วิปัสสนาภูมิ 6



ปรมจารย์..สมถะกัมมัฎฐาน..........นิมิตรบัญญัติ..อารมณ์




สมถะ คือการเพ่ง ให้ใจ นี้ยึดติดในอารมณ์ ให้เป็นอันเดียวกัน
                       การเพ่ง มี ปัจทราวิถี คือ  ใช้ตามอง (จัก)

          ส่วนการหลับตานึกถึง  มโนทวารวิถี  ใช้ใจคิด  (อุคคห , ปฎิภาค)



อยากแสดงอิทธิฤทธิ์   อภิญญา 6        ต้องเลือก ให้ถึงรูปฌาณ 5  ปัญ

วิชา3 กล่าวถึงแต่พระพุทธเจ้า   ยมกปาฎิหารก็เช่นกัน

แต่การฝึกจริงๆๆ ก็ต้องถึง อรูปฌาณ 4 เนวสัญญานาสัญญายตนะ   

แต่ที่ใช้แสดงฤทธิ์ คือ ปัญ ฌาณ5  หรือ ฌาณ 4 แบบพระสูตร





ท่านผู้อยากจะมีฤทธิ์...... คงต้องฝึกทั้ง 10 กสิณ



ทำนายนิมิตร ทั้ง 3 ที่เหลือ

     มรณาสัณกาล  จะมีอารมณ์ 1 ใน 3 แบบนี้มาปรากฎ  

     กาลนี้เป็นเวลาที่เราต้องเทหมดหน้าตัด ระลึกถึงกุศล ทาน  พระสัมมาสัทพุทธเจ้า มาเป็นอารมณ์ เพื่อปิดประตูนรก  เปิดประตูสวรรค์

แต่สำหรับผู้ฝึกสมาทานศีล ให้ทาน  เจริญภาวนา ก็จะสามารถผ่านพ้นไปได้


เช่น

>>>>  สามเณรผู้เฒ่า <<<<
เปลี่ยนอารมณ์ก่อนตาย  ได้ไปสวรรค์แทน  กรรมนิมิตร หมาดำตัวใหญ่...หมาในนรก  กรรมชั่วนิมิตให้เห็น      ส่วนมีใจเลื่อมในดอกไม้บูชาเจดีย์  (คตินิมิตร แดนเกิด)




>>> นายโจรเคราแดง  Youtube  <<<  คลิ๊กดูตรงนี้      >>>นายโจรเคราแดง  อ่าน<<<
นายโจรเคราแดง พระสารีบุตร ไปโปรด สมาทาน ศีล 4 ก่อนตาย ไปเกิดเป็นเทวดา ชั้นที่1 จตุมาหาราชิกา

>>> มัฏฐกุณฑลิชาดก <<<  คลิ๊กดูตรงนี้
 ผู้ระลึกถึงพระศาสดา แม้ไม่อาจยกมือ ไห้วได้  ตายก็ไปเกิดบนสวรรค์ได้  ด้วยจิตเลื่อมใส่ในพระศาสดา ( จิตนี้ถึงไม่อาจดูแคลน )




>>> ลองอ่าน กรรมทีปนี เพิ่มพูนความรู้ เรื่องกรรม  <<<
https://suwit2019.blogspot.com/p/blog-page_92.html


>>>  มรณาสันวิถี  <<<
https://suwit2019.blogspot.com/p/blog-page_13.html



วันอาทิตย์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2562

ปรมจารย์สวรรค์

ผู้นำทางไปสวรรค์ (6 ชั้นฟ้า)
                             
ปิดประตู นรก (8 ชั้นดิน)


ทำนายความเสี่ยงที่เหลืออยู (นิมิตก่อนตายทั้ง 3)

>>>  จิตวิญญาณ  เรื่องนี้เข้มข้น ครอบคุม <<<










................บอกได้ว่า ถ้าคุณสงสัย คุณต้องศึกษา......................เทียบเคียง.................การสละละคลาย......




ศีล 5 คือ รถไฟขบวนใหญ่ นำไปสู่สวรรค์

            สมาทานศีล  แล้วรักษาตามกำลัง 

ศีล มีกำลัง เป็น 3 ใน 8  ของ มรรคองค์ 8   จึงพาไปสวรรค์ได้สบายๆๆ


จิต เป็นประธาน 
            1.กุศล  
            2.อกุศล 
            3.วิปาก(การมองเห็นได้ยิน)

ดวงสีฟ้า 7 เกิดกับจิตทุกขณะ ทั้งดีและชั่ว
ดวงสีเทา 6  ประกอบแล้วแต่
ดวงสีดำ  4  โมหะ ก็ประกอบกับเรายกเว้นเวลาเจริญกุศล

< จะเปรียบเทียบกันทาน ว่ากำลังมากทำอย่างไร >
>>> ทานสูตร  <<<  คลิ๊กดูตรงนี้

1. ให้แล้วจะไปใช้สอย หลังตาย (เป็นทาสทาน ต่ำสุด)     .....จาตุมหาราชิกา

2. การให้ทานเป็นการดี .....เทวดาชั้นดาวดึงส์ 

3. ทำตามปูย่าตายาย ทำตามประเพณี   ............เทวดาชั้นยามา

4. ให้เพราะนักบวชท่านไม่หุงหาอาหาร.........เทวดาชั้นดุสิต


5. ให้ทานเพราะจะบูชาพระอรหัตน์      ..............เทวดาชั้นนิมมานรดี


6.ให้ทานแล้วจิตใจชื่นบาน  ...........เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวัสดี



ตัวอย่างเช่น 



นางสุชาดา กับ สักกะเทวราช....คลิ๊กดูตรงนี้
รักษาศีล 5 เกิด เป็นอสูรกัญญา

>>> นายโจรเคราแดง  youtube <<<  คลิ๊กดูตรงนี้       >>>นายโจรเคราแดง  อ่าน<<<
นายโจรเคราแดง พระสารีบุตร ไปโปรด สมาทาน ศีล 4 ก่อนตาย ไปเกิดเป็นเทวดา ชั้นที่1 จตุมาหาราชิกา

>>> มัฏฐกุณฑลิชาดก <<<  คลิ๊กดูตรงนี้
 ผู้ระลึกถึงพระศาสดา แม้ไม่อาจยกมือ ไห้วได้  ตายก็ไปเกิดบนสวรรค์ได้  ด้วยจิตเลื่อมใส่ในพระศาสดา ( จิตนี้ถึงไม่อาจดูแคลน )


......แล้วคิดดูเถิด เราท่านทั้งหลาย สมาทานทุกวันศีละเวียนเกิดเวียนตาในเทวดภูมิ สักกี่ชาติกัน  น่าคิด .........


อนุสติ 10 ในสมถะ 40
  1. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
  2. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงพระธรรมเป็นมารมณ์
  3. สังฆนุสสติ ระลึกถึงคุณพระสงฆ์เป็นอารมณ์
  4. สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลเป็นอารมณ์
  5. จาคานุสสติ ระลึกถึงผลของทานการบริจาคเป็นอารมณ์
  6. เทวตานุสสติ ระลึกถึงความดีของเทวดาเป็นอารมณ์
    (อนุสสติทั้ง 6 กองนี้ เหมาะแก่ท่านที่หนักไปในสัทธาจริต)
  7. มรณานุสสติ ระลึกถึงความตายเป็นอารมณ์
  8. อุปสมานุสสติ ระลึกถึงความสุขในนิพพานเป็นอารมณ์
    (อนุสสติ 2 กองนี้ เหมาะแก่ท่านที่หนักไปในพุทธจริต)
  9. กายคตานุสสติ เหมาะแก่ท่านที่หนักไปในราคจริต
  10. อานาปานานุสสติ เหมาะแก่ท่านที่หนักไปในโมหะและจริต

บุญกิริยาวัตถุ 10  หมายถึง ที่ตั้งแห่งการกระทำความดี ๑๐ อย่าง หมายถึง กุศลจิตที่มีกำลังจนทำให้มีการกระทำออกมาทางกาย  วาจาหรือทางใจ  ได้แก่ ...
๑.ทานมัย   บุญสำเร็จจากการให้วัตถุเพื่อสงเคราะห์หรือบูชาแก่ผู้อื่น
๒.ศีลมัย  บุญสำเร็จจากการงดเว้นจากทุจริต หรือประพฤติสุจริตทางกาย  วาจา
๓.ภาวนามัย  บุญสำเร็จจากการอบรมจิตให้สงบจากกิเลส (สมถภาวนา) และการอบรมปัญญาเพื่อละกิเลสทั้งปวง(วิปัสสนาภาวนา)
๔.อปจายนมัย  บุญสำเร็จจากการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน
๕.เวยยาวัจจมัย  บุญสำเร็จจากการขวนขวายบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่น
๖.ปัตติทานมัย  บุญสำเร็จจากการให้ส่วนบุญที่ได้บำเพ็ญมาแล้ว
๗.ปัตตานุโมทนามัย  บุญสำเร็จจากการยินดีในกุศลที่ผู้อื่นได้กระทำแล้ว
๘.ธัมมัสสวนมัย   บุญสำเร็จจากการฟังพระสัทธรรม
๙.ธัมมเทสนามัย  บุญสำเร็จจากการแสดงพระสัทธรรม
๑๐.ทิฏฐุชุกรรม  การกระทำความเห็นให้ตรงถูกต้องตามความเป็นจริง
......................................................................................................................................
นิวรณ์ 5 จะก่อก่วนใจเราท่าน ให้ ไม่มีเรียวแรงพอที่อยากรักษาศีล (เรียกว่า สัมปยุติ ประกอบ   สสังขาริก คนชักชวน)

.........นิวรณ์5 เป็นเขต แบ่งระหว่าง เทวดา กับ พรหม  

.......พรหม หรือ ผู้บรรลุณาณ ข่มนิวรณ์ 5 จิตมีกำลัง  ในวิปัสสนา ยังสงเคราะห์ เป็น ปฐมณาณ ด้วย

.....พรหมโลก มี 16 ชั้น     พรหมธรรมดา 11 ชั้น   อนาคามีพรหม 5 ชั้น  ก่อนนิพานในชั้นที่ 5

วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2562

ปฎิจสมุปบาท

                                                             หัวข้อ ที่ 5 ของวิปัสสนาภูมิ 6

>>> คู่มือปฎิจสมุทปบาท  <<<  คลิ๊กดูตรงนี้

>>> คู่มืออภิธรรมต่างๆ <<<  คลิ๊กดูตรงนี้