ปรมจารย์ ด้านทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรคองค์ 8




ทุกข์ ควรกำหนดรู้

สมุทัย ควรละ

นิโรธ ทำให้แจ้ง (นิพาน )

มัคค 8      ควรเจริญให้มากๆ





ป็นการครอบคุม  สุขุม ลึกซึ้ง  

ทุกข์ ท่านว่า ปรมัตถ ธรรมทั้งหมด ยกเว้น โลภะจิต 8  


สมุทัย  ท่านว่า โลภะจิต 8  เป็นเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวง เพราะสร้างเหุตนี้ รูปและนาม วิปากจึงเกิดมิหยุด ภพแล้วภพเล่า  ความปราถนา , ความยินดี  , ความเพลิดเพลิน    


นิโรธ
 ความดับสนิท ดัง กองไปใหญ่ ดับไม่เหลือ  ด้วยเหตุปัจจัยที่จะทำให้เปลวไฟไม่มี นิพาน จึง เป็น ดังไฟที่หายไปไม่มีเหลือ นั้นเอง 

มัคค 8 ความเจริญให้มาก  
 







พอทราบแล้วว่าจะไปทางไหน 
 


โลภะมูลจิต 8  หรือ สมุทัย





เริ่มเดิมที  แต่แยกรูปและนาม ออกจาก กัน    --->   จากนั้นมาเหตุปัจจัยให้เกิดรูป-นาม


การพิจารณา เชื่องช้า  เพราะ เราไปติดในอารมณ์  ห่วงความนึกคิด  ส่วนใหญ่เป็นอดีต สมุติร  และโลภะ8  อันเป็นความอยาก ที่เราปราถนา 


จากรูปข้างล่าง 2.อารัมณปัจจัย   จิต 89 + เจตสิก 52  + รูป 28  + นิพาน  + บัญญติ....--> จิต89+เจตสิก52(นาม หรือ ความคิด)

    จิต 89 + เจตสิก 52     จิตเกิด ทีละ 1  + เจสิก(7+)

    รูป  28  เห็นรูปนี้สวย เราชอบ   บางทีก็เห็นรูปของศัตรู เราเกลียด

    นิพาน เราปราถนา ทำบุญงานการกุศล เพื่อให้ได้ ถือเป็นอารมณ์ด้วย

     บัญญัติ  โลกสมุตร เรียกกัน  เราก็ติด บัญญัติเป็นส่วนใหญ่ ในชีวิต


>>> คู่มือปัฎฐาน ศึกษาละเอียดได้ที่นี้ <<<          >>> ศึกษาทาง Youtube ที่นี้ <<<

https://drive.google.com/file/d/1GPkcsvOzVc90150AXtSiKf7gPLOA4ULX/view
https://www.youtube.com/watch?v=rIN9cF4DdVY&list=PLbNApPrel7E7rdqyYM81M8UHAqhZtzs3i





จิต ต้องมีอารมณ์   +  เจตสิก จะ คอยช่วยอุ้มชูอารมณ์ในให้ ครบตามวิถี ของจิต

แต่   ปัจจปริคหญาณที่2  นับ การเกิด เห็นอารมณ์(ความคิด) เกิดขึ้นทางใจ -- เห็นอริยาบท ท่าทาง เปลี่ยน เกิดเป็นท่าใหม่




จิตตานุปัสสนา
  อารมณ์ทั้ง16 แบบ ฝึกพิจารณา ว่า ความคิดแบบนี้เกิด ก็รู้ว่า เกิด แล้ว ก็เปลี่ยนไป  ตามดูไป   แล้วก็หายไป 

ทุกข์
    อารมณ์ก็เป็นทุกข์ แบบหนึ่ง      

แต่อารมณ์ ที่เป็น โลภะ 8  เป็นสมุทัย    ตามดูไป    กำหนดรู้ได้  ก็ถึงจะหาวิธีละ ต่อไป
 (ความอยาก , ชอบใจยินดี ,ปราถนา , อยากได้ )


ตามดูให้เห็น        ตามดูจนชำนาญ        ตามดูความอยากทั่วๆ     ตามดูจนเห็นอารมณ์ใหม่เกิดขึ้น





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น